Page 33 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 33
27
ครั้งที่ 2
ขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยน ขยายความรู้ (Conclusion)
4.1 ครูเปิดห้องเรียนออนไลน์ ส่งลิงก์เชิญนักเรียนเข้าเรียนผ่านสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์แอป
พลิเคชัน Google Meet เมื่อนักเรียนทยอยเข้ามาห้องเรียนออนไลน์แล้ว ครูตรวจสอบรายชื่อนักเรียน แจ้ง
กิจกรรมที่จะปฏิบัติ
4.2 ครูขออนุญาตนักเรียนที่ส่งคลิปการประกอบอาหารแกงอ่อมไก่ใส่ฟักทอง มาน าเสนอที่
ื่
ห้องเรียนออนไลน์ เพื่อให้เพอนในห้องเรียนออนไลน์ร่วมกันแสดงความคิดเห็นต่อผลงาน ให้นักเรียนน าเสนอ
จุดเด่นของอาหาร และจุดด้อยที่ควรพัฒนา
่
4.3 ครูเสนอแนะผลงาน ให้เทคนิคการท าแกงออมไก่ใส่ฟักทอง เช่น การเลือกฟักทอง
การเลือกไก่ การหั่น การใส่เครื่องปรุง การตักใส่ชามให้สวยงามน่ารับประทาน
ขั้นที่ 5 ติดตามประเมินผล (Evaluation)
่
5.1 ครูแจ้งผลคะแนนการตอบใบกิจกรรมเรื่อง ประโยชน์และสรรพคุณของแกงออมไก่ใส่
ฟักทอง และ เรื่อง การจัดจ าหน่ายแกงออมไก่ใส่ฟักทอง จาก Google From ให้นักเรียนได้ทราบ
่
ิ่
5.2 ครูให้นักเรียนพูดสะท้อนผลสิ่งที่ได้เรียนรู้เมื่อจบบทเรียน หรือสิ่งที่อยากรู้เพมเติมในการ
เรียนครั้งนี้
5.3 ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป สิ่งที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้นอกห้องเรียน วัสดุ อุปกรณ์ที่
ต้องเตรียม
5.4 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง อาหารประเภทแกง จ านวน 10 ข้อ
จาก Google Form ท านอกเวลาเรียนได้
9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
9.1.1 สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์แอปพลิเคชัน Google Meet
9.1.2 เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหารประเภทแกง
9.1.3 วีดิทัศน์ เรื่อง การประกอบอาหาร การปรุง และการจัด แกงไก่ใส่ฟักทอง
9.1.4 บัตรค าสั่งที่ 1 เรื่อง การฝึกปฏิบัติ การประกอบ การปรุง และการจัดแกงไก่ใส่ฟักทอง
9.1.5 บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การฝึกปฏิบัติ การประกอบ การปรุง และการจัดแกงไก่ใส่ฟักทอง
9.1.6 บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ประโยชน์และสรรพคุณของแกงไก่ใส่ฟักทอง
9.1.7 บัตรกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดจ าหน่ายแกงไก่ใส่ฟักทอง
9.1.8 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
9.1.9 เพลงของแซบอีสาน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
9.2.1 เพจห้องเรียนครูภาวิณี เพ็งธรรม กลุ่ม “ห้องเรียนอาหารไทย”
9.2.2 YouTube