Page 3 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 3

ก





                       ชื่อเรื่อง    รูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช  ้
                                   กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กร
                                   ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓  “ยุติธรรมวิทยา”
                       ผู้วิจัย     นายวิทยา  อำพล  ผู้อำนวยการสถานศึกษา

                                   วิทยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
                       สถานศึกษา  โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” สังกัดสำนักการศึกษา
                                   เทศบาลนครสกลนคร อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
                       ปีการศึกษา   2563


                                                          บทคัดย่อ


                                 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพและความ
                       ต้องการจำเป็นสำหรับการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2) สร้างและ

                       พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบ
                       การพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ 4) ประเมินผลและปรับปรุง
                       รูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การดำเนินการแบ่งเป็น 4
                       ระยะ โดยระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพและความต้องการจำเป็นสำหรับการพัฒนาครู ระยะ
                                                             ้
                       ที่ 2เป็นสร้างและพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพดานความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่าง
                                                                                                   ้
                       รูปแบบโดยผเชี่ยวชาญ ระยะที่ 3 เป็นการศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ที่นำไปทดลองใชใน
                                 ู้
                       สถานการณ์จริง และระยะที่ 4 เป็นระยะของการประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบ ดำเนินการวิจัยใน
                       ปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างที่ร่วมสนทนากลุ่ม

                       เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการพัฒนาครู เป็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวน
                       9 คน ผู้บริหาร จำนวน 2 คน กลุ่มเป้าหมายสำหรับการทดลองใช้และตรวจสอบประสิทธิภาพของ
                       รูปแบบการพัฒนาครู เป็นครูโรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” ทสอนระดับ
                                                                                       ี่
                       มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 23 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 288 คน

                       เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยระยะที่ 1 คือ 1) แบบ
                                                        ิ
                       วิเคราะห์เอกสาร 2) แบบสอบถามความคดเห็นเกี่ยวกับสภาพ และความต้องการจำเป็นของครูด้าน
                       ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระยะที่ 2 ใช้แบบตรวจสอบร่างรูปแบบ และคู่มือการใช ้
                       รูปแบบการพัฒนาครู และแบบตรวจสอบเครื่องมือประเมิน ระยะที่ 3 เป็นระยะของการทดลองใช ้

                       รูปแบบการพัฒนาครู เครื่องมือที่ใช ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจของ
                                                   ้
                                                              ี
                       ครูผู้สอน เรื่อง กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  2)  แบบ
                              ์
                                                               ั
                       สัมภาษณความคิดเห็นครู เรื่อง การอบรมเชิงปฏิบติการ  3) แบบประเมินทักษะการจัดการเรียนรู้ใน
                       ศตวรรษที่ 21  4) แบบบันทึกกิจกรรมการแลกเปลยนเรียนรู้ (Share & Learn) 5) แบบบันทึกการ
                                                               ี่
                       สะท้อนผลเพื่อพัฒนา (After Action Review : AAR)  และระยะที่ 4 เป็นการประเมินผลและ
                       ปรับปรุงรูปแบบเพื่อให้ได้รูปแบบที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) เครื่องมือการ
   1   2   3   4   5   6   7   8