Page 4 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 4

ข





                       วิเคราะห์คุณภาพของผเรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้แก่ (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
                                         ู้
                       ทางการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐาน
                       (O-NET) ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ประจำปีการศึกษา 2563
                                                                            ้
                       (3) แบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของสถานศึกษา ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                                                                      ู
                       ได้แก่ 1) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสตรและตามข้อกำหนดของสถานศึกษา
                       2) แบบวัดความผูกพันที่มีต่อองค์กรของครู และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่มีต่อ
                       รูปแบบการพัฒนาครู และประเด็นการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการพัฒนา

                                           ้
                       ครู การวิเคราะห์ข้อมูลใชค่าร้อยละ (%) การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ( X,) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                       (S.D.,) ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า
                                   1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ใน

                       ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อ
                       องค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผเรียน ประกอบด้วย เอกสาร ทฤษฎี ทักษะการจัดการเรียนรู้ใน
                                                ู้
                       ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา
                       กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คือ ครูรวมตัวกันเป็นชุมชน ทำหน้าที่เป็นผู้นำและมี

                       แนวปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง และปฏิรูปวัฒนธรรมการทำงานของครู และ
                       ความผูกพันต่อองค์กรเป็นความรู้สึกของกลุ่มสมาชิกที่ปฏิบัติงานอยู่ภายในองค์กร สภาพการ
                       ปฏิบัติและความต้องการของครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พบว่าโดยภาพรวม
                       และรายด้าน อยู่ในระดับมาก ( X= 3.92, S.D. = 0.57)

                                   2. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ใน
                       ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อ
                                                ู้
                       องค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผเรียน พบว่ารูปแบบการพัฒนาครูที่สร้างขึ้นมีชื่อว่า PASA Model
                       มีองค์ประกอบ 7 ประการ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 แนวคิด องค์ประกอบที่ 2 หลักการ
                       องค์ประกอบที่ 3 วัตถุประสงค์ องค์ประกอบที่ 4 ปัจจัยนำเขา องค์ประกอบที่ 5
                                                                        ้
                       กระบวนการพัฒนาครู ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) เตรียมความพร้อม (Prepare) (2) การ
                       ปฏิบัติงานร่วมกัน (Attend) (3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share &  Learn) (4) การทบทวนสู่การ

                       พัฒนา (After Action Review) องค์ประกอบที่ 6 การวัดและประเมินผล และ องค์ประกอบที่ 7
                                                       ุ
                       ปัจจัยการสนับสนุน ผลการตรวจสอบคณภาพด้านความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ
                       การพัฒนา พบว่าในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( X= 4.54, S.D. = 0.66) และ
                                                ุ
                       ความเป็นไปได้ ในระดับมากที่สด ( X= 4.51, S.D. = 0.74) และผลการตรวจสอบคุณภาพของ
                       คู่มือการใช้รูปแบบในภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ( X= 4.40, S.D. = 0.50)
                       และความเป็นไปได้ในระดบมาก ( X= 4.45, S.D. = 0.50)
                                            ั
   1   2   3   4   5   6   7   8   9