Page 9 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 9

3





                                 การทำงานร่วมกันในลักษณะชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพจึงถือเป็นกระบวนการทำงานท  ี่
                       ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่เป็นรูปธรรม สอดคล้องกับ DuFour และคณะ (2010: 9 – 14) ที่ระบุว่าชุมชน
                       การเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นการรวมกลุ่มบุคคลที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นที่แต่ละคนให้
                                                                                                            ื่
                       ความสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาทางการศึกษาที่เชื่อว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ที่ทำให้การสอ
                                                                                                            ี่
                                                    ้
                                                                                                     ื่
                       ความหมายระหว่างกลุ่มบุคคลที่มีเปาหมายเดยวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจนเกิดการสอสารทมี
                                                            ี
                       ประสิทธิภาพ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นกระบวนการทำงานที่มีความต่อเนื่องที่มีการดำเนินการ
                                                                   ื
                       ภายใต้วงจรของการวิจัยปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดการสบเสาะแสวงหาความรู้ และพัฒนาการทำงานอย่าง
                       ต่อเนื่อง สอดคล้องกับ Bulkley และ Hicks (2005 : Web Site) ที่ระบุว่าชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพ
                                                                                                           ี
                       ของโรงเรียนเป็นลักษณะของปฏิสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องระหว่างครูผู้สอนเกี่ยวกับการปฏิบัตงานการเรียนการ
                                                                                               ิ
                       สอน รวมทั้งการเรียนรู้ของครูผู้สอนและนักเรียน ทั้งยังเป็นลักษณะของกลุ่มคนที่มีการแลกเปลี่ยนและ
                                                                                                         ิ
                                                           ั
                       พูดคุยในเชิงวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการปฏิบติงานในชีวิตประจำวัน รวมทั้งการสะท้อนผลการปฏิบัตงาน
                       และร่วมมือกันปฏิบัติงานโดยมุ่งเน้นการเรียนรู้และส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพโดยการปฏิบัติงาน
                       ของครูเป็นลักษณะของการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน (Collective enterprise) โดยมีเป้าหมายของ
                                                                                                        ื
                       การปฏิบัติงาน คือ เพื่อส่งเสริมประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูให้เป็นครูมืออาชีพที่มุ่งสู่เป้าหมายคอการ
                       เรียนรู้ของนักเรียน (Toole and Louis. 2002: 11; King and Newmann. 2001: 29) ส่วนลักษณะการ

                       ร่วมกันทำงานของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนนั้นจำเป็นต้องสร้างโอกาสสำหรับครูในการ
                       ประชุมพบปะหารือและทำงานร่วมกันทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ ลักษณะ
                       เช่นนี้จะเกิดขึ้นได้โดยการสนับสนุนจากโครงสร้างภายในการจัดสรรเวลา จัดพื้นที่สำหรับการพบปะหารือ
                       และทำงานร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้การเข้าถึงความเชี่ยวชาญหรือความชำนาญการเป็น
                                                                                                       ่
                       เครื่องมือสำคัญสำหรับการสร้างชมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพโดยใช้วิธีการที่หลากหลายรูปแบบ เชน การ
                                                                       ี
                                                  ุ
                       ประชุมปฏิบัติการพัฒนาวิชาชีพที่เป็นทางการ การเยี่ยมชั้นเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ และการแลกเปลี่ยน
                       เรียนรู้สารสนเทศและแนวคิดใหม่ ๆ (Forde and others. 2006: 19 – 24)
                                                                               ้
                                 การนำกระบวนการของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใชในการบริหารจัดการศึกษา ถือไดว่า
                                                                                                           ้
                       เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานของครู ที่จะต้องมารวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู
                       ผู้บริหาร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งบางครั้งการ
                       เปลี่ยนแปลงก็ส่งผลทั้งในด้านบวกและด้านลบ ผลที่มีต่อโรงเรียนในด้านบวก คือ โรงเรียนมีการบริหาร
                       จัดการที่มีประสิทธิภาพ ครูมีความกระตือรือร้นในการทำงาน มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน แต่ในดาน
                                                                                                          ้
                       ลบ ครูผู้สอนอาจจะทำงานโดยที่ไม่มีความผูกพันต่อองค์กร ความพึงพอใจจะลดลงเรื่อย ๆ ดังนั้นการ
                                                                                                         ู
                                                  ์
                       รักษาครูที่มีคุณภาพให้อยู่กับองคกร จำเป็นที่จะต้องสร้างแรงจูงใจในการทำงาน รวมถึงสร้างความผกพัน
                       ในองค์กร อันจะส่งผลให้คนและงานเอื้อประโยชน์ต่อกัน สอดคล้องกับ ศุภวรรณ หลำผาสุข (2550: 7) ได ้
                                                                                  ู้
                                       ู้
                       กล่าวไว้ว่าครูเป็นผที่มีบทบาทโดยตรงตอการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผเรียนเป็นสำคัญ การบริหารงาน
                       ของสถานศึกษาใหประสบผลสำเร็จหรือบรรลุวัตถุประสงค ผบริหารสถานศึกษาตองใหความสำคัญในการ
                                                                        ู้
                                                                          ุ
                       สร้างแรงจูงใจ สร้างบรรยากาศในการทำงาน ทสามารถกระตนใหครูเสียสละ อุทิศตน และทมเทใหกับ
                                                               ี่
                                                                                                     ุ
                       งาน สนับสนุน สงเสริม และใหความช่วยเหลือในการปฏิบติงานของครู จนทำใหครู เกิดความพึงพอใจจน
                                                                      ั
                       กลายเป็นความจงรักภักดี มีความรักและความผูกพันตอสถานศึกษา พรอมที่จะแสดงออกมาทั้งทางดาน
                                                                                                           ้
                       พฤติกรรมและจิตใจ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14