Page 13 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 13
7
ได้จากการทำงาน 2) สมาชิก ประกอบด้วย บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 5 กลุ่ม ดังนี้ (2.1) ครูผู้สอน (Model
ึ
Teacher (2.2) ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) (2.3) ครูพี่เลี้ยง (Mentor) (2.4) ผู้บริหารสถานศกษา
(Administrator) และ(2.5) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) 3) ระบบกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มี
ลักษณะเป็นวงจรของการดำเนินกิจกรรม 5 กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ (3.1) การกำหนดวิสัยทัศน์
ร่วมกัน (3.2) การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (3.3) การสื่อสารสะท้อนคิด (3.4) การแลกเปลี่ยนประสบการณ ์
และ (3.5) การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยแต่ละกิจกรรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนย่อย ได้แก่ (1) ขั้น
ิ
วางแผนการจัดการเรียนรู้: Plan (2) ขั้นปฏิบัติและสังเกตการณ์ : Do (4) ขั้นสะท้อนคิดผลการปฏิบัตงาน
: See (ภัทรวดี จำใบรัตน์. 2563: 16 ; สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา. 2561: 20 – 22 ; พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ
คณะ. 2561: 132 ; อนุศร หงส์ขุนทด. 2560: 21-23 ; ชวลิต ชูกำแพง. 2560: 4 - 5 ; ซาโต มานาบุ.
2559: 70 – 92 ;วิจารณ์ พานิช. 2555: 139)
ี่
3. แนวคิดความผูกพันต่อองค์กร เป็นภาวะของกลุ่มบุคคลทปฏิบัติงานอยู่ภายในองค์กร ทมี
ี่
ความรู้สึกยึดมั่นในองค์กรมีความตั้งใจจะทำงานกับองค์กรโดยไม่ลาออก มีการยอมรับเป้าหมายของ
ุ
์
องค์กร มีความเป็นห่วงเป็นใยความสำเร็จขององคกร เต็มใจที่จะทำงานให้บรรลเป้าหมาย พร้อมที่จะอุทิศ
ตนและเสียสละเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร และนำไปสู่ความมีประสิทธิผลขององค์กร
ี
จึงกล่าวได้ว่าความผูกพันต่อองค์กรของครู คือความรู้สึกและทัศนคติที่ดของครูที่มีต่อโรงเรียนที่ตน
ปฏิบัติงานอยู่ มีความสุขกับการทำงาน ยินดีที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนและส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้
ุ
ั
บรรลุตาม วัตถประสงค์ที่ตั้งไว้ ยอมรับแนวทางการบริหารของผู้บริหาร มาเป็นแนวทางในการปฏิบติงาน
้
1) ด้านความศรัทธาต่อองค์กร 2) ด้านความทุ่มเทต่อองค์กร และ 3) ดานบรรทัดฐานขององค์กร (Steers
and Porter.1977: 121;ฐิฏิมา พุฒประเสริฐ .2556 : 7; Meyer and Allen .1997 :39; จันทรา อิ่มใน
ิ
บุญ.2559: 7; นันพิดา สีลาทอง.2559: 7; อภิชาต อนันตภักดิ์.2558: 10; เสาวณีย์ วงศ์อ้อย. 2556: 5;
ศิริพร พรมโสภา.2559: 18)
จากศึกษาแนวคิดต่าง ๆ นำมาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้