Page 11 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 11
5
แนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นให้ครูผู้สอนมี
ิ
ความสามารถด้านการวางแผนจัดการเรียนรู้ ด้านการออกแบบการเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนรู้เชงรุก
(Active learning) และด้านทักษะการสื่อสารและการร่วมมือทำงาน โดยปฏิบัติงานด้วยความรู้สึกเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์กร ทราบถึงเป้าหมายที่แท้จริงขององค์กร และยินดีเสียสละ มุ่งมั่น ร่วมมือกันท ี่
จะปฏิบัติหน้าที่เป็นแรงขับเคลื่อนให้องค์กรก้าวไปถึงเป้าหมาย อันจะส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน โดยผู้วิจัย
ี
จะพัฒนานักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายก่อน เนื่องจากนักเรียนในระดับนี้จัดเป็นวัยรุนท่อยู่
่
ระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่ เป็นวัยที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา
่
และจริยธรรม เป็นช่วงที่กำลังจะจบการศกษาขั้นพื้นฐาน และต้องเลือกทางเดินในอนาคตที่จะเรียนตอใน
ึ
ระดับอุดมศึกษา หรือประกอบอาชีพ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมความพร้อม
นักเรียนมุ่งสู่สถาบันอุดมศึกษา หรือประกอบอาชีพและเตรียมคนสู่สังคมในศตวรรษที่ 21 นักเรียนก็จะ
ี่
ุ
้
ได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ไดอย่างถูกทางและมีคณภาพ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการ“ปลดล็อก ปรับเปลยน เปิด
กว้าง” เพื่อลดความเหลื่อมล้ำด้านการจัดการศึกษาและเป็นการแก้ปัญหาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดอย่างแท้จริง ซึ่งผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์
และแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนให้ครบทุกระดับชั้นต่อไป
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผู้รายงานได้กำหนดวัตถุประสงคของการวิจัยไว้ดังนี้ คือ
์
็
้
6.1 เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพและความต้องการจำเปนสำหรับการพัฒนาครูดานทกษะ
ั
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความ
ผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
6.2 เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพ
ของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
6.3 เพื่อศึกษาผลการใชรูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
้
โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพ
ของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
6.4 เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลตอ
่
คุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
7. กลุ่มเป้าหมาย
เชิงปริมาณ
ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” สังกัดเทศบาลนครสกลนคร อำเภอเมือง
สกลนคร จังหวัดสกลนคร ปีการศึกษา 2563 จำนวน 23 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ครูทสอน
ี่
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย