Page 16 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 16
10
2) แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบร่างรูปแบบฯ คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน
ื
้
9 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนารูปแบบและดานการจัดการศึกษาไดมาโดยการเลอกแบบ
้
เจาะจง (Purposive Selection)
3) ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ความถูกต้องและความเหมาะสมของร่างรูปแบบฯ ตาม
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
4) ระยะเวลา เดือนสิงหาคม 2563
้
ตอนที่ 2 การสร้างคู่มือการใชรูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรท ี่
ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” โดยมีขอบเขตดังนี้
1) เนื้อหา ได้แก่ ความถูกต้องและความเหมาะสม ของคู่มือการใชรูปแบบการพัฒนา
้
ครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับ
แนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรม
วิทยา” ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ (Experts Judgment)
2) แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคู่มือการใช้รูปแบบฯ คือ ผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ
เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบและเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ
3) ตัวแปรแปรที่ศึกษา ได้แก่ ความถูกต้องและความเหมาะสมของคู่มือการใช้รูปแบบฯ
4) ระยะเวลา ดำเนินการในเดือน สิงหาคม 2563
ระยะที่ 3 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อ
คุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
้
ผู้รายงานดำเนินการทดลองใชและศึกษาผลการใชรูปแบบการพัฒนาครูฯ โดยมีขอบเขต
้
การวิจัยดังนี้
1) เนื้อหา ศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครูดานทกษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท ี่
้
ั
21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลตอ
่
คุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”
2) กลุ่มเป้าหมาย ผู้รายงานได้ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ไดแก่
้
ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” สังกัดเทศบาลนครสกลนคร อำเภอเมืองสกลนคร
จังหวัดสกลนคร จำนวน 55 คน โดยกลุ่มครูที่เข้าร่วมการทดลองในครั้งนี้ ได้ผ่านการพัฒนาตาม
กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทผู้รายงานมีบทบาทเป็น ผู้บริหาร (Administrator) ในการ
ี่
อำนวยความสะดวก เสริมพลัง ให้คำแนะนำ และกำกับติดตาม