Page 12 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 12

6





                              เชิงคุณภาพ
                                                                                       ้
                                 ครูมีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สามารถนำมาใชเป็นแนวทางในการให้ครู
                       รวมตัวกันเป็นชุมชน (Community) เพื่อขับเคลื่อนและปฏิรูปวัฒนธรรมการทำงานให้สามารถทำงาน
                       ร่วมกับเพื่อนครูด้วยกันได้ รวมทั้งเป็นแนวทางสำหรับการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนและปรับปรุงการ

                       จัดการเรียนรู้ของครูอันจะส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

                       8. หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ใช้
                                 ผู้รายงานได้ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีดังนี้

                                                                                   ู้
                                 1. แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับทักษะการจัดการเรียนรในศตวรรษที่ 21  การจัดการ
                                                                     ี่
                       เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ทผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและดำเนินกิจกรรม
                       ต่าง ๆ มากกว่าการเป็นผู้รับความเพียงฝ่ายเดียวเป็นการจดการเรียนรู้ทเปดโอกาสให้ผเรียนมีปฏิสมพันธ์
                                                                                   ิ
                                                                                              ู้
                                                                                 ี่
                                                                      ั
                                                                                                        ั
                       กับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน และได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไปปฏิบัติเป็น
                       กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการ
                       เรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง
                                                       ู้
                       ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรือ อำนวย
                       ความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้นโดยกระบวนการคดขั้นสูง ผู้รายงานสังเคราะห์องค์ประกอบความ
                                                                      ิ
                       ต้องการจำเป็นในการพัฒนาด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครู ไว้ 5 ด้าน ได้แก่ 1)
                                                                                                   ิ
                       ด้านการวางแผนจัดการเรียนรู้ 2) ด้านการออกแบบการเรียนรู้  3) ด้านการจัดการเรียนรู้เชงรุก (Active
                       learning)  4) ด้านทักษะการสื่อสารและการร่วมมือทำงาน  (วัชรา   เล่าเรียนดีและคณะ (2560:233) ;
                               2
                                                 2
                                                                 2
                       Cooper ( 0 1 1 )  ; Kyriacou ( 0 0 7 ) ; Council ( 0 1 1 ) ; ถนอมพร เหลาจรัสแสง (2550:53-54) ;
                       Simmons( 2013 อ้างถึงใน วิโรจน์ สารรัตนะ. 2556: 31); (Bazzano, 2011 อ้างถึงใน วิโรจน์ สารรัตนะ.
                       2556: 47) ; Andrew Churches (2008) (วิโรจน์ สารัตนะ.2556: 47) ; จินตนา ศิริธัญญารัตน์และวัชรา
                       เล่าเรียนดี (2562:19);บันเย็น เพ็งกระจ่าง(2561:26);วิโรจน์ สารรัตนะ (2556:122-124) ;มหาวิทยาลย
                                                                                                            ั
                       เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (2557:1-2) ; Meyers and Jones. 1993: 19-20)
                                 2. แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ชุมชนแห่งการ
                                                                                                         ั
                       เรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็นเครื่องมือสำหรับให้ครูรวมตวกัน
                                                                         ิ
                                                                        ั
                       เป็นชุมชน (Community) ทำหน้าที่เป็นผู้นำและมีแนวปฏิบตเพื่อขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง และ
                       ปฏิรูปวัฒนธรรมการทำงานของครู ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องจากวัฒนธรรมแบบโดดเดี่ยวมาเป็นวัฒนธรรม
                       การทำงานแบบร่วมมือรวมพลังกันเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยมีความเชื่อว่าหัวใจของการ
                       พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึ้นอยู่ที่การเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในการทำงานของครู ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
                       วิชาชีพจะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ที่เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ครูเรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนา

                       วิชาชีพของตน และผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปฏิรูปโรงเรียนโดยการเข้าร่วมกิจกรรม
                       ทางการศึกษาของโรงเรียน โดยทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานความสัมพันธ์แบบรับฟังเสียงของผู้อื่นและรับฟัง
                       ซึ่งกันและกัน ซึ่งผู้รายงานสังเคราะห์องค์ประกอบไว้ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ ชุมชนแห่งการ
                       เรียนรู้ทางวิชาชีพ เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ครู นักเรียน ชุมชน และผู้ปกครอง ซึ่งทุกฝ่ายต้องร่วมพลงกัน
                                                                                                         ั
                       ในทุก ๆ กระบวนการ ก่อให้เกิดวัฒนธรรมการทำงานแบบร่วมมือรวมพลังทสามารถวัดผลสำเร็จทเกิดขึ้น
                                                                                                       ี่
                                                                                     ี่
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17