Page 11 - นวัตกรรมกครูกาญจนา คิง
P. 11

6


                             กระบวนการปฏิบัตินี้สามารถใช้กันการฝึกปฏิบัติทุกอย่างเช่น การอ่านทำนองเสนาะ
               การฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ เป็นต้น (สนอง อินละคร. 2544)

                           8.7 ทักษะปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถในการรายรํา อันประกอบดวย ความถูกตองของท
               ารํา ลีลาทารํา จังหวะ ความพรอมเพรียง และความกลาแสดงออก สรุปผลไดจากการแบบประเมินทักษะ
               ปฏิบัติ เรื่องการฟ้อนนาฏยประดิษฐ์ บูชาพระธาตุเชิงชุม ที่ผูวิจัยสรางขึ้น
                                                             ิ
                           8.8 แนวคิดของชมชนการเรียนรู้ทางวชาชีพ (Professional Learning Community)
                                           ุ
               ในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า “Professional Learning Community ชื่อย่อ คือ “PLC” ในสังคมไทยเรามีการใช้
               คำว่า “Teaching Learning Community” ซึ่งมี วิจารณ์ พานิช (2555: 139) ให้ความหมายของชุมชนการ
                                                                                                ื่
               เรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) ว่าหมายถึง การรวมตัวกันของครูในโรงเรียนหรือเขตพื้นที่การศึกษาเพอ
               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ศิษย์ได้ทักษะเพอการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (21st Century
                                                              ื่
               Skill) โดยที่ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
                                                                                        ั
               ระดับประเทศ เข้าร่วมจัดระบบสนับสนุน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง เป็นการพฒนา วิธีการเรียนรู้
               ของศิษย์อย่างต่อเนื่อง เป็นวงจรไม่รู้จบ นั่นคือการ “พัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง (CQI Continuous quality
                                   ี
               improvement) และอกความหมายหนึ่งที่ วิจารณ์ พานิช (2555: 139) ได้เสนอไว้ในหนังสือ วิถีสร้างการ
               เรียนรู้เพื่อศิษย์ ว่า PLC คือ กระบวนการต่อเนื่อง ที่ครูและนักการศึกษาทำงานร่วมกันในวงจรของการร่วมกัน
               ตั้งคำถาม และการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อบรรลุผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้นของนักเรียน โดยมีความเชื่อว่า หัวใจ
               ของการพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียนให้ดีขึ้น อยู่ที่การเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในการทำงานของครูและนักการศึกษา

                           8.9 การฟ้อนนาฏยประดิษฐ บูชาพระธาตุเชิงชุม หมายถึง การแสดงออกอย่างอิสระที่มี
                                                    ์
               ท่วงทำนอง จังหวะ ดนตรีลีลาเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น มีลักษณะการแต่งกายคือ ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น เสื้อแขน
               กระบอก ห่มผ้าสไบ ผมเกล้ามวย ซึ่งการฟ้อนรำส่วนมากฟอนเพื่อพิธีกรรมตามความเชื่อ โดยใช้เครื่องดนตรี
                                                               ้
                                    ิ
               ที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ พณ แคน โปงลาง โหวด ฯลฯ และใช้ภาษาถิ่นในการขับร้อง เช่น หมอลำกลอน
               หมอลำหมู่  เป็นต้น

                           8.10 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ SIMAA Model
               เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติ เรื่อง การฟ้อนนาฏยประดิษฐ์ บูชาพระธาตุเชิงชุม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
               สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หมายถึง ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกชอบ รัก สนใจ ภูมิใจต่อการ

               ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการปฏิบัติงานนั้นๆ ถ้าชอบมาก รักมาก สนใจมาก ภูมิใจมาก
               ก็จะมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานนั้นๆ ให้สำเร็จลงได้ด้วยดีตามจุดประสงค์หรือตามเป้าหมายของ
               นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เกิดจากการเรียนด้วยชุดการสอน  การฟอนนาฏยประดิษฐ์ บูชาพระธาตุ
                                                                          ้
               เชิงชุม  ที่ผู้รายงานพัฒนาขึ้น
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16