Page 8 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 8
3
ั
นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวทางการพฒนาผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 และในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบว่าแนวคิดการเรียนรู้
ั
เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการเรียนรู้เกิดการพฒนาเชิงบวกทั้งผู้เรียนและตัวครูเป็นการปรับการ
เรียนเปลี่ยนการสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสได้เลือกใช้ความถนัด ความสนใจความสามารถที่เป็นความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ส่วนตัวครูจะท าให้ครูเกิดทักษะในการสอนและมีความเชี่ยวชาญในบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบ
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2562: 21) แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) คือ การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
เพื่อพลิกบทบาทจากการบรรยายของครูในเวลาเรียนเปลี่ยนเป็นการเรียนรู้นอกเวลาเรียนผ่านวีดิโอโดยกระตุ้น
ื่
ให้เกิดมุมของนักเรียนเอง ซึ่งครูในห้องเรียนพลิกกลับด้านนั้นใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพอสร้างสภาพแวดล้อม
เลียนแบบและการจัดการส าหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักเรียนสามารถชมวีดิโอได้หลายครั้ง
เพื่อให้เข้าใจเนื้อหา และเมื่อมาเข้าชั้นเรียนก็พร้อมที่จะเข้าสู่บทเรียนโดยการตอบค าถามจากการท างาน
ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับความสามารถของตนเอง (Bergmann and Sams, 2012)
ั
จากความส าคัญและเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยจึงต้องการพฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์
ื่
เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพอส่งเสริมทักษะ
ึ
ี
ปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกษาปีที่ 3
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะปฏิบัติและความพึงพอใจในการเรียน และนักเรียนสามารถน าความรู้
และทักษะไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้
6. วัตถุประสงค์
ื่
6.1 เพอสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ี
ื่
6.2 เพอศึกษาทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอสาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ให้มีนักเรียนจ านวนร้อยละ 80 ของนักเรียนทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม
ึ
ื่
6.3 เพอศึกษาความพงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตาม
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบ
อาหารภาคอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” สังกัดเทศบาล
นครสกลนคร ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 มีนักเรียนทั้งหมด 15 คน