Page 10 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 10

5


                         8.4 ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

                           8.4.1 หลักการของทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)
                           ทฤษฎีคอนสตรัคชันนิสซึม มีสาระส าคัญที่ว่า ความรู้ไม่ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอน

                 ี
               เพยงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลง
                                                                              ั
               มือกระท าด้วยตนเอง (Learning by Doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงพฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้
               ซึ่งไม่ได้จะมีมากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้นแต่ยังรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู้ในตัวของ

               ผู้เรียนเอง ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมภายนอกซึ่งหมายความว่า ผู้เรียนจะสามารถเก็บข้อมูลจาก
               สิ่งแวดล้อมภายนอกและเก็บเข้าไปเป็นโครงสร้างของความรู้ภายในสมองของตนเอง ดังนั้น ในการลงมือปฏิบัติ

               ด้วยตนเอง (Learning by doing and Hands-on) จะได้ผลดีถ้าหากว่าผู้เรียนเข้าใจในตนเอง มองเห็น

               ความส าคัญในสิ่งที่เรียนรู้และสามารถเชื่อมโยงระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่า (รู้ว่าตนเองได้เรียนรู้
               อะไรบ้าง) และสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา ซึ่งทั้งหมดจะอยู่ภายใต้ประสบการณ์และบรรยากาศที่

               เอื้ออ านวยต่อการเรียนรู้นั่นเอง (ชัยพร นุ่มนวล, 2556:32)
                           8.5  แนวคิดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)  หมายถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิด

               โอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทส าคัญในการเรียนรู้และได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง

                                             ื่
               โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆเพอค้นหาค าตอบ ผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะน า
               กระตุ้นและเป็นผู้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการค้นพบในระหว่างการท างานของนักเรียนเพอให้เข้าใจในเนื้อหาที่สอน
                                                                                    ื่
               ผู้เรียนลักษณะนี้จะเป็นผู้เรียนที่เรียนรู้วิธีการเรียน(Learning how to learn) เป็นผู้เรียนที่กระตือรือร้นและมี

               ทักษะที่สามารถเลือกรับข้อมูลวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีระบบ ท าให้เกิดการเรียนรู้ที่มีคุณค่า
               และสนุกสนานตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2562:

               4);ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ (2558: 1) ; Michael and Modell (2003)  กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกเป็น
               กระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มีจุดเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ มีการ

                          ิ
               วางแผน มีอสระในการท างาน มีความเข้าใจในตนเองใช้สติปัญญา คิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม
               เป็นผู้ไตร่ตรองสะท้อนคิด และเป็นผู้ปฏิบัติ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย เกิดการเปลี่ยนแปลง ไปใน
               แนวทางที่ดีขึ้น  การเรียนรู้ ผ่านการอภิปรายแลกเปลี่ยน การลงมือปฏิบัติ และการน าความรู้ไปใช้ รวมทั้งการ

               แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่ผู้อน เน้นการท างานเป็นกลุ่ม  เน้นการร่วมมือระหว่างผู้เรียน  เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่
                                  ื่
               หลากหลาย  ผู้เรียนรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนผู้เรียนมีวินัยในตนเองท าให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง โดย


               มีครูเป็นผู้อานวยความสะดวกและให้ค าแนะน า ให้กับผู้เรียน (วัชรา เล่าเรียนดีและคณะ (2560:65);
               Marlowe and Page (2005: 15); (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2562: 4-5)
                           8.6 แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่ครู

               มอบหมายให้นักเรียนศึกษาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ก่อนการเรียนในชั้นเรียน เช่น การศึกษาจาก

               ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ หรือใช้การสืบค้นข้อมูล เช่น Google Yahoo หรือเว็บไซต์ เช่น YouTube
               รวมถึง Facebook ที่เหมาะกับยุคปัจจุบัน ซึ่งผู้เรียนเข้าถึงได้เมื่ออยู่ที่บ้านหรือนอกห้องเรียน และน าผลการ

               เรียนรู้มาน าเสนอพร้อมอภิปราย และท ากิจกรรมหรืองานต่าง ๆ ร่วมกันในชั้นเรียน ซึ่งลักษณะส าคัญของ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15