Page 15 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 15
10
ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) การประเมินความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้างก าหนดเกณฑ์การ
พิจารณา ดังนี้ (มาเรียม นิลพันธุ์. 2555: 179)
ระดับ 5 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องมาก
ระดับ 3 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องน้อยที่สุด
ิ
การประเมินพจารณาจากค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน
ความเหมาะสม/สอดคล้อง น ามาแปลความหมายตามเกณฑ์ดังนี้ (มาเรียม นิลพันธุ์. 2555: 196)
ค่าเฉลี่ยคะแนน 4.50-5.00 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องมากที่สุด
ค่าเฉลี่ยคะแนน 3.50-4.49 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องมาก
ค่าเฉลี่ยคะแนน 2.50-3.49 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องปานกลาง
ค่าเฉลี่ยคะแนน 1.50-2.49 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องน้อย
ค่าเฉลี่ยคะแนน 1.00-1.49 หมายถึง มีความเหมาะสม/สอดคล้องน้อยที่สุด
ิ
พจารณาค่าความเหมาะสม/สอดคล้องที่มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ไม่เกิน 1.00 ซึ่งแสดงว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ที่พฒนาขึ้นมีความเหมาะสม/สอดคล้อง
ั
เชิงโครงสร้าง สามารถน าไปทดลองใช้ได้ ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และ
แบบประเมินทักษะอยู่ในระดับมาก และได้แก้ไขรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบ
ประเมินทักษะ ตามข้อเสนอของกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) จ านวน 3 คน ดังนี้ ปรับขั้นตอนของ
กระบวนการเรียนรู้ของแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวคิดและสถานการณ์ปัจจุบัน การใช้ภาษาใน
ั
ั
แต่ละขั้นตอน การปรับสื่อการสอนให้สอดคล้องกบการสอนออนไลน์ การสร้างแบบฝึกทกษะ โดยใช้ Google
Form เปลี่ยนรูปแบบการประเมินให้ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินทักษะปฏิบัติของ
็
ื่
นักเรียนด้วย และให้สร้างเพจห้องเรียนครูภาวิณี เพงธรรม เพอน าสื่อการสอนไปให้นักเรียนได้ศึกษาก่อน
ล่วงหน้า สร้างกลุ่ม Line ห้องเรียนที่จะใช้สอนออนไลน์
ขั้นที่ 3 การน ารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้
ี
ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอสาน กลุ่ม
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไปใช้
กิจกรรมที่ 5 น าสู่การปฏิบัติ/สังเกตการสอน ผู้รายงานได้น ารูปแบบการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบประเมินทักษะปฏิบัติ ไปปฏิบัติการสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ด้วยรูปแบบการสอนออนไลน์ ผ่าน Application การประชุมออนไลน์ในแพลตฟอร์ม Google Meet รูปแบบ
ื่
ื่
ของการ VDO Conference สามารถเปิดวีดีโอคอลเพอสื่อสารกันได้ สามารถแชร์หน้าจอเพออธิบายให้ความรู้
นักเรียนได้ นักเรียนก็สามารถน าเสนองานให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น