Page 19 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 19

14


                           3. วิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

               เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะ
                                                                                    ึ
               ปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศกษาปีที่ 3 โดยใช้ค่าเฉลี่ย
               ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


                         4. การประเมินผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้

               ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอีสาน กลุ่ม
               สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

                           ขั้นตอนนี้เป็นการน าข้อมูลผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎี

               การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหาร
               ภาคอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การสนทนากลุ่มชุมชนการ

                                        ิ
               เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาพจารณาประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบ ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น พร้อมที่
               จะน าไปใช้ต่อไป



               11. ผลการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม
                       1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิด

               ห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

               ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่พัฒนาขึ้นชื่อว่า “OPWCE ” มีองค์ประกอบ 5 ประการ ได้แก่ 1)
               หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย กิจกรรมห้องเรียนกลับด้าน ให้นักเรียนศึกษา

               ความรู้ในแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์ก่อนเข้าห้องเรียน กิจกรรมในห้องเรียนออนไลน์ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
               ขั้นที่ 1 เปิดห้องเรียนออนไลน์  (Open) ขั้นที่ 2 น าเสนอบทเรียน  (Present) ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติ (Work

               from Home) ขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยน ขยายความรู้ (Conclusion) ขั้นที่ 5 ติดตามประเมินผล (Evaluation)

               4) การวัดและประเมินผล และ 5) ปัจจัยและเงื่อนไขการน ารูปแบบไปใช้ โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่

               พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมระดับมาก ( X = 4.45, S.D. = 0.70)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24