Page 18 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 18
13
4.2 ครูขออนุญาตนักเรียนที่ส่งคลิปการประกอบอาหาร มาน าเสนอที่ห้องเรียนออนไลน์
เพอให้เพอนในห้องเรียนออนไลน์ร่วมกันแสดงความคิดเห็นต่อผลงาน ให้นักเรียนน าเสนอจุดเด่นของอาหาร
ื่
ื่
และจุดด้อยที่ควรพัฒนา
4.3 ครูเสนอแนะผลงาน ให้เทคนิคการท าอาหารอีสาน เช่น การวัสดุ เครื่องปรุง
การตกแต่งอาหารให้สวยงามน่ารับประทาน
ขั้นที่ 5 ติดตามประเมินผล (Evaluation)
5.1 ครูแจ้งผลคะแนนการตอบใบกิจกรรม จาก Google From ให้นักเรียนได้ทราบ
5.2 ครูให้นักเรียนพดสะท้อนผลสิ่งที่ได้เรียนรู้เมื่อจบบทเรียน หรือสิ่งที่อยากรู้เพมเติมในการ
ู
ิ่
เรียนครั้งนี้
5.3 ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป สิ่งที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้นอกห้องเรียน วัสดุ อุปกรณ์ที่
ต้องเตรียม
5.4 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน จ านวน 10 ข้อ จาก Google Form ท านอกเวลา
เรียนได้
3. ขั้นหลังการทดลอง น าคะแนนที่ได้จากการประเมินทักษะปฏิบัติในระหว่างเรียน
มาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ เพื่อสรุปผลการวิจัย
ตารางที่ 1 การจัดเวลาในการจัดการเรียนรู้ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุก
วัน/เดือน/ปี เรื่อง จ านวนชั่วโมง
วันที่ 16 กรกฎาคม 2564 อาหารประเภทลาบ 2
วันที่ 23 กรกฎาคม 2564 อาหารประเภทน้ าพริกผักสด 2
วันที่ 30 กรกฎาคม 2564 อาหารประเภทหมก 2
วันที่ 6 สิงหาคม 2564 อาหารประเภทของหวาน 2
วันที่ 13 สิงหาคม 2564 อาหารประเภทแกง 2
รวม 10
3. การประเมินการทดลองใช้รูปแบบ
ผู้รายงานน าข้อมูลที่รวบรวมได้มาประเมินการทดลองใช้รูปแบบ ดังนี้
1. วิเคราะห์คุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพอส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอีสาน
ื่
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. วิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยทักษะปฏิบัติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุก โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วน าไปแปลความหมาย