Page 11 - นวัตกรรม ครูภาวิณี เพ็งธรรม
P. 11

6


               ห้องเรียนกลับด้าน เป็นการเรียนที่บ้าน ท าการบ้านในชั้นเรียน นักเรียนสามารถเลือกเวลาและสถานที่เรียนได้

               ตามความสะดวกของผู้เรียน โดยน าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้  มีความ
               หลากหลายของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เชิงรุกตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับ

                                                                                ี
                                        ื่
               แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพอส่งเสริมทักษะปฏิบัติการประกอบอาหารภาคอสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การ
               งานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3เกิดการเรียนรู้แบบรู้จริง เปลี่ยนจากบรรยากาศที่รับการถ่ายทอดความรู้มาเป็น
                    ู
               การพดคุยแลกเปลี่ยน เพอการเรียนรู้ ท าให้นักเรียนรู้สึกมีอสระ และรู้สึกว่าการเรียนเป็นเรื่องของตน เป็น
                                                                  ิ
                                     ื่
               ความรับผิดชอบของตน และมีโอกาสได้แสดงภูมิรู้อย่างหลากหลาย โดยครูเป็นผู้คอยช่วยเหลือ แนะน าให้
               ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมและการท างานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ (ศิริวรรณ  วณิชวัฒนวรชัย.

               2560: 153) สอดคล้องกับวิจารณ์ พานิช (2556) ที่กล่าวว่าการกลับด้านชั้นเรียนเหมาะส าหรับผู้เรียนยุค

                                      ิ
               ปัจจุบันที่เติบโตพร้อมกับอนเตอร์เน็ต เป็นวิธีการที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ มีความยืดหยุ่น ช่วย
               การเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนไม่เก่งและเป็นการเรียนรู้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล

                         ลักษณะส าคัญของห้องเรียนกลับด้าน
                             วิจารณ์ พานิช (2557: 41-54) กล่าวถึงลักษณะของห้องเรียนกลับด้านว่ามีส่วนช่วยให้เกิด

               การเรียนรู้แบบรู้จริง โดยน าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ ท าให้การเรียนรู้ของ

               นักเรียน บทบาทหน้าที่ของครู และบรรยากาศในห้องเรียนเปลี่ยนไป โดยในห้องเรียนแบบเดิม นักเรียนจะนั่ง
                                                              ิ
                                                            ื่
                 ั
               ฟง รับค าสั่ง และรับการถ่ายทอด แล้วตอบข้อสอบเพอพสูจน์ว่าตนได้เรียนรู้สภาพเช่นนี้ได้ผลต่อนักเรียนส่วน
                            ี
               น้อย นักเรียนอกจ านวนหนึ่งจะหมดความสนใจ และหลุดไปจากกระบวนการเรียนรู้ แต่ในห้องเรียนกลับด้าน
               นักเรียนจะรับผิดชอบต่อการเรียนของตน การเรียนไมใช่สิ่งที่กระท าต่อนักเรียน แต่กลายเป็นสิ่งที่นักเรียนเป็น
                                                            ่
               เจ้าของ เป็นผู้กระท า และจะเป็นทักษะติดตัวตลอดไป นักเรียนมีโอกาสได้เลือกเรียนตามวิธีที่ตนถนัดที่สุด

               ท าให้บทบาทของครูเปลี่ยนไป ครูได้ใช้เวลาให้เกิดคุณค่าต่อนักเรียนมากที่สุด และได้คอยช่วยแนะน านักเรียน
               ครูและนักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น

                           8.7 ทักษะปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถในการกระท าการลงมือท าหรือการปฏิบัติ ซึ่งต้อง

                                                      ื้
               อาศัยความรู้ ความคิดหรือประสบการณ์เป็นพนฐานในการกระท า และเมื่อกระท าแล้วมักเกิดความรู้ ความข้า
               ใจเพมขึ้นตามมา โดยทั่วไปเมื่อบุคคลจะลงมือท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะต้องรู้วิธีการท าสิ่งนั้นก่อน วิธีการจะระบุ
                    ิ่
               ขั้นตอนหรือกระบวนการในการท าว่า เริ่มต้นขั้นที่ 1 ท าอะไร ต่อไป 2, 3, 4 ...จะท าอะไร เมื่อรู้วิธีการแล้วผู้ท า
               จะต้องลงมือท าตามวิธีการหรือขั้นตอนนั้น จนกระทั่งท าได้ ท าเป็น ท าคล่อง ท าช านาญ จึงเกิดเป็นทักษะใน

               ระดับต่าง ๆ กัน ดังนั้น ทักษะกระบวนการปฏิบัติ (Performance Skills) หมายถึง ความสามารถในการ

               กระท า หรือการปฏิบัติงานใด ๆ อย่างเป็นล าดับขั้นตอน เพื่อให้งานนั้นส าเร็จตามวัตถุประสงค์ของการกระท า
               ทักษะนี้สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรงจากพฤติกรรมการแสดงออกของผู้กระท า  (ทิศนา แขมมณี. 2557: 10)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16