Page 24 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 24

18





                       11. ผลการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม
                                                                                          ั
                                                                              ้
                                 11.1 ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาครูดานทักษะการจดการเรียนรู้ในศตวรรษ
                                                                                                           ่
                       ที่ 21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลตอ
                       คุณภาพของผู้เรียน ประกอบด้วย เอกสาร ทฤษฎี ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช  ้
                                                                                                           ี
                       กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพ
                       คือ ครูรวมตัวกันเป็นชุมชน ทำหน้าที่เป็นผู้นำและมีแนวปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง และ
                                                                                    ึ
                                                                                                 ิ
                       ปฏิรูปวัฒนธรรมการทำงานของครู และความผูกพันต่อองค์กรเป็นความรู้สกของกลุ่มสมาชกทปฏิบัตงาน
                                                                                                         ิ
                                                                                                    ี่
                       อยู่ภายในองค์กร สภาพการปฏิบัติและความต้องการของครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท 21
                                                                                                          ี่
                       พบว่าโดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก ( X = 3.92, S.D. = 0.57)
                                 11. 2 ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท  ี่
                       21 โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลตอ
                                                                                                            ่
                       คุณภาพของผู้เรียน พบว่ารูปแบบการพัฒนาครูที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมีชื่อว่า PASA Model มีองค์ประกอบ 7

                                 ้
                       ประการ ไดแก่ องค์ประกอบที่ 1 แนวคิด องค์ประกอบที่ 2 หลักการ องค์ประกอบที่ 3 วัตถุประสงค  ์
                       องค์ประกอบที่ 4 ปัจจัยนำเข้า องค์ประกอบที่ 5 กระบวนการพัฒนาครู ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1)
                       เตรียมความพร้อม (Prepare) (2) การปฏิบัติงานร่วมกัน (Attend) (3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share &

                                                                                       ี่
                       Learn) (4) การทบทวนสู่การพัฒนา (After Action Review) องค์ประกอบท 6 การวัดและประเมินผล
                       และ องค์ประกอบที่ 7 ปัจจัยการสนับสนุน ผลการตรวจสอบคุณภาพด้านความเหมาะสมและความเป็นไป
                       ได้ของรูปแบบการพัฒนา พบว่าในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดบมากที่สด ( X= 4.54, S.D. = 0.66)
                                                                              ั
                                                                                     ุ
                                                   ี่
                                                    ุ
                                                                                                ุ
                       และความเป็นไปได้ ในระดับมากทสด ( X= 4.51, S.D. = 0.74) และผลการตรวจสอบคณภาพของคมือ
                                                                                                          ู่
                       การใช้รูปแบบในภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ( X= 4.40, S.D. = 0.50) และความเป็นไป
                       ได้ในระดับมาก ( X= 4.45, S.D. = 0.50)
                                   11.3 ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
                       โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของ

                       ผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” พบว่า
                                     11.3.1 ครูมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
                       การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลังการอบรมตามรูปแบบการพัฒนาครูมีคะแนนพัฒนาการ
                       (ความก้าวหน้า) คิดเป็นร้อยละ 14.93

                                     11.3.2 ครูมีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมาก
                       ( X = 4.38, S.D. = 0.49)
                                      11.3.3 คุณภาพผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประกอบด้วย
                                                                                                              ื
                                       1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่มีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการเพิ่มขึ้นคอ
                       ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คิดเป็นคะแนนความก้าวหน้าร้อยละ 5.25  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คิดเป็น
                       คะแนนความก้าวหน้าร้อยละ 3.28  และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คิดเป็นคะแนนความก้าวหน้าร้อยละ
                                                                                                           ิ
                       0.72 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คดเป็น
                       คะแนนความก้าวหน้าร้อยละ 2.19 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คิดเป็นคะแนน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29