Page 29 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 29

23





                        รูปแบบการพัฒนาครูด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการชมชนการ
                                                                                                  ุ
                        เรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกับแนวคิดความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียน
                                               มัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา”



                       ความเป็นมาและความสำคัญของรูปแบบ

                                                                                         ั
                                 การจดการศกษาในศตวรรษท 21 สำหรับประเทศไทยนั้นเปนการจดการศกษาทมุ่งผลต
                                                                                                    ี่
                                                                                   ็
                                           ึ
                                     ั
                                                                                               ึ
                                                          ี่
                                                                                                        ิ
                                                                       ิ
                                                     ี่
                           ี่
                       คนทมีความรู้เพื่อพัฒนาพลเมืองทมีความรู้ มีความรับผดชอบ มีความสามารถในการวิเคราะห์
                       สงเคราะห์ สามารถนำไปประยุกตใชในชวิตประจำวัน มีความสามารถในการทำงาน แก้ปัญหาและ
                        ั
                                                   ์
                                                     ้
                                                         ี
                                                                                                   ้
                                                                                                ึ
                                                                                           ี่
                                                                 ึ
                                                                            ั
                                          ้
                       แข่งขันทางเศรษฐกิจไดมากขึ้น ดงนั้นการจดการศกษาให้ก้าวทนโลกในศตวรรษท 21 จงตองมีการ
                                                   ั
                                                           ั
                                                             ึ
                                                       ั
                       เปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดยปฏิรูปการจดการศกษาในเชงโครงสร้างทงระบบอย่างเขาใจสภาพปัญหา
                                                                     ิ
                                                                                            ้
                                                                                ั้
                                                                                               ึ
                       แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสงคมอย่างมีประสทธิภาพ (สำนักงานเลขาธิการสภาการศกษา. 2559:
                                                ั
                                                              ิ
                                    ี่
                                     ี
                                                     ้
                                        ุ
                               ึ
                                                                   ี่
                       23) การศกษาทดมีคณภาพนั้น จะตองมีการปรับเปลยนรูปแบบการเรียนรู้ และบทบาทของบุคคล
                       ต่าง ๆ ทเกี่ยวข้องกับการจดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครูจะตองเปลี่ยนจดสนใจหรือจดเน้นจาก
                                                                             ้
                                             ั
                              ี่
                                                                                       ุ
                                                                                                 ุ
                                                                 ้
                                                 ั้
                                                    ู้
                       การสอนไปยังการเรียนรู้ของทงผเรียนและครู ตองมีการเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้
                       ตลอดเวลา ครูมีหน้าที่เปรียบเสมือนผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Learning facilitator) ครูจง ึ
                                                             ู้
                                                  ์
                                                                                    ้
                                                                                                    ั
                                          ั
                       ต้องมีความเก่งในการจดสรรองคประกอบให้ผเรียนกลายเป็นนักเรียนรู้ ตองมีเครื่องมือหรือทกษะท ี่
                                                                                           ้
                           ็
                       จำเปนต่อการเรียนรู้อย่างครบถ้วน เพื่อให้ผเรียนสามารถสร้างองคความรู้ใหม่ได้ดวยตวเอง (วิจารณ  ์
                                                                              ์
                                                           ู้
                                                                                              ั
                       พาณิช. 2556: 56)
                                                          ั
                                                     ั
                                                                           ี่
                                  ุ
                                                                 ั
                                 คณภาพของครูเป็นปัจจยสำคญในระดบโรงเรียนทสงผลตอการเรียนรู้ของนักเรียนมาก
                                                                                 ่
                                                                            ่
                                                                                       ิ
                                                                                         ้
                                                                   ุ
                                                                                           ิ่
                                               ี่
                                                                                                 ั
                         ุ
                                            ี
                       ทสด และถือว่าเป็นวิชาชพทสำคญสามารถกำหนดคณภาพพลเมืองของชาตได สงทสำคญทมีสวน
                                                                                              ี่
                        ี่
                                                                                                       ่
                                                                                                     ี่
                                                  ั
                                                                        ุ
                                                                           ั
                                                                                                    ั้
                                ั้
                                            ็
                       เกี่ยวข้องตงไว้เป็นประเดนสำคญทชดเจน คอ การกำหนดคณลกษณะทพึงประสงค์ของครู ทงนี้เพื่อ
                                                           ื
                                                ั
                                                    ี่
                                                                                  ี่
                                                     ั
                                                                   ึ
                                                ิ
                                                                                           ี่
                       เป็นการกำหนดเป้าหมายและทศทางของการจดการศกษาและองค์ประกอบอื่น ๆ ทสงเสริมสนับสนุน
                                                                                             ่
                                                             ั
                                                                                  ่
                                                                  ้
                                                              ี่
                       และเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูให้ไปในทิศทางทถูกตองและตอบสนองตอการพัฒนาการทางสังคมให้
                                                                                    ั
                       ก้าวทันและก้าวนําโลกในอนาคต (เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. 2554: 28) ดงนั้นการพัฒนาครูจงต้องมี
                                                                                                    ึ
                                                                                  ู้
                       การดำเนินการอย่างเปนระบบและเน้นความร่วมมือในการพัฒนาจากผทมีสวนเกี่ยวข้องเพื่อให้เกิด
                                                                                      ่
                                          ็
                                                                                    ี่
                                                              ี่
                                                       ิ
                                                         ี่
                                                           ็
                                                                                 ั้
                                                                         ั
                       การเปลยนแปลงครั้งใหญ่ในแนวปฏิบัตทเปนทยอมรับของสงคมรวมทงการสร้างมุมมองใหม่สำหรับ
                             ี่
                                                                                                  ้
                              ี่
                                              ู่
                                                        ี่
                       การเปลยนแปลงเพื่อมุ่งสศตวรรษท 21 (Fogarty and Pete. 2010: 97) ซึ่งจำเป็นตองมีการ
                                                                                  ี
                       ดำเนินการทเน้นการมีสวนร่วม ผ่านการสร้างชมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพ (Professional Learning
                                                              ุ
                                 ี่
                                          ่
                       Communities : PLC) เพื่อเปนเครื่องมือทมีประสิทธิภาพสำหรับการสอสารเพื่อร่วมกันพัฒนาอย่าง
                                                                                 ื่
                                                          ี่
                                                ็
                                        ุ
                         ็
                                                                 ็
                                                                             ี่
                       เปนรูปธรรม เพราะชมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพเปนการทำงานทให้ความสำคัญเกี่ยวกับการร่วมกัน
                                                             ี
                       สะทอนผลการดำเนินงานอย่างสร้างสรรค ซึ่งจะเป็นการเปิดโอกาสให้ผเกี่ยวข้องในการทำงานไดมี
                                                                                   ู้
                          ้
                                                                                                        ้
                                                          ์
                       โอกาสพูดคย แลกเปลยนเรียนรู้ทงในรูปแบบทเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งจะทำให้คนพบ
                                ุ
                                                   ั้
                                                               ี่
                                                                                                     ้
                                          ี่
                                                                           ้
                                                                                ั
                       วิธีการทำงานร่วมกันทจะสามารถดำเนินการพัฒนานักเรียนไดตามศกยภาพของแตละคน (DuFour
                                          ี่
                                                                                            ่
                                                                 ์
                                                                                    ่
                                                                       ิ
                       and others. 2010: 9 – 14) สอดคลองกับวิจารณ พาณช (2555: 2) กลาวถึงการจดกิจกรรมการ
                                                                                             ั
                                                      ้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34