Page 31 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 31

25






                       แนวคิดทฤษฎีพื้นฐานของรูปแบบ

                                                                         ู
                                 1. แนวคิดด้านการพัฒนารูปแบบการพัฒนาคร ประกอบด้วย
                                   1.1 แนวคิดด้านการพัฒนารูปแบบ
                                      รูปแบบ คือกระบวนการจำลองสภาพความเป็นจริงที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
                                           ้
                                                                                             ี่
                       องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใชในการสืบสอบหาคำตอบ ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ทเกิดขึ้น โดย
                       สร้างจากแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ Good (1995: 459); นรินทร์ สังข์รักษา (2562: 20);
                       ทิศนา แขมมณี (2550: 220); วิชัย วงษ์ใหญ่ (2543: 4) โดยมีองค์ประกอบ ประกอบด้วย แนวคิด
                                   ุ
                                          ์
                       หลักการ  วัตถประสงค ปัจจัยนำเข้า กระบวนการพัฒนา การวัดและประเมินผล และ ปัจจัย
                       สนับสนุน จันทรานี สงวนนาม (2545 : 86-87); วศินี รุ่งเรือง (2562: 92); วรรณภร ศิริพละ(2559:
                       143) ; สมาน อัศวภูมิ (2550: 66-67); Keeve (1997: 386-387) ซึ่งมีขั้นตอนในการพัฒนาประกอบ

                       ไปด้วย การศึกษาข้อมูลพื้นฐานพื้นฐาน ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูล ปัญหา และ ความต้องการของผู้มี
                       ส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) การสร้างเป็นรูปแบบการพัฒนา จากข้อมูลที่ได้ และออกแบบ
                       เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำรูปแบบการพัฒนาที่ได้มาทดลองใช้จริง และประเมินผล

                                                                                           ุ
                       จากการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคณภาพ รุ่งรัชดา
                       พร เวหะชาต (2548: 92-93); นรินทร์ สังข์รักษา (2562: 21-27) อีกทั้งการตรวจสอบรูปแบบเป็น
                                 ิ
                       การตรวจสอบรูปแบบเชิงคุณลักษณะ (Qualitative) และเชิงปริมาณ (Quantitative) โดย
                                                                                   ์
                       ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีพื้นฐานความรู้ เน้นที่สถานภาพทางวิชาชีพ ประสบการณและการเป็นที่เชื่อถือ เป็น
                       ผู้วิเคราะห์วิจารณ์รูปแบบในการพัฒนาอย่างลึกซึ้งเฉพาะในประเด็นที่นำมาพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อสรุป

                                          ิ
                       เกี่ยวกับคุณภาพ ประสทธิภาพ หรือความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาที่ทำการประเมิน โดยใช ้
                                                        ู้
                       วิธีการสนทนากลุ่ม และผู้เชี่ยวชาญเป็นผตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผลในการสร้างรูปแบบ
                       การพัฒนาและผลที่ได้จากการดำเนินการ(ตัวแปร) (อุทุมพร จามรมาน. 2542: 45); Eisner (1976:

                       35-39)
                                   1.2 แนวคิดด้านการพัฒนาคร  ู
                                     การพัฒนาครูคอ การเสริมความรู้ให้ครูมีความรู้ความสามารถ ทกษะ ทศนคต   ิ
                                                   ื
                                                                                              ั
                                                                                                    ั
                                     ุ
                                        ั
                                                                   ู้
                                                                                          ี่
                                               ่
                                                                                                      ุ่
                           ิ
                                                                                                        ึ
                       พฤตกรรม และคณลกษณะตาง ๆ เพื่อนำไปพัฒนาผเรียนให้มีความรู้ในศาสตร์ทครูสอนอย่างลมลก
                                                   ิ
                                                 ั
                                                                  ิ
                                                                                                     ้
                                                                                    ์
                       ทำให้เกิด ความพึงพอใจและตดสนใจอย่างมีประสทธิผลในสถานการณเฉพาะอย่างหนึ่งทตองใช     ้
                                                                                                    ี่
                       วิจารณญาณ ค่านิยมและความเชื่อมั่นในตนเองรวมถึงการมีคุณธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและเจตคต ิ
                       ทดตอวิชาชพครู Kirschner and others (1977: 151-171); สธีรา วิเศษสมบัต (2560: 48); วศนี
                                                                           ุ
                                                                                          ิ
                                 ี
                           ่
                        ี่
                         ี
                                                                                                        ิ
                       รุ่งเรือง (2562: 19); ธนา ธุศรีวรรณ (2562: 16) เพราะการพัฒนาครูมีความสำคญอย่างยิ่งตอการ
                                                                                           ั
                                                                                                     ่
                       พัฒนาคุณภาพผเรียน เพราะครูต้องมีความรู้และพัฒนาตนในดานต่าง ๆ เช่น ดานความรู้ การจดการ
                                                                                        ้
                                                                          ้
                                                                                                     ั
                                    ู้
                                                                            ้
                       เรียนรู้ ความสามารถในการนำยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ไปใชไดอย่างหลากหลาย สามารถจัดการ
                                                                              ้
                                      ั้
                               ิ
                                                                                                        ั
                                                                     ั้
                       ความรับผดชอบทงภายในและภายนอกห้องเรียน รวมทงเข้าใจและยอมรับคนอื่น ทั้งนี้เพื่อให้ครูทน
                                ี่
                                                                                             ุ
                                                                   ้
                       ตอการเปลยนแปลงของเทคโนโลยีและสามารถใช เทคโนโลยีเพื่อการสอนให้มีคณภาพ และมี
                        ่
                                             ่
                                                    ้
                       ประสทธิภาพตอบสนองตอความตองการของผเรียนได โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณลกษณะของครูใน
                            ิ
                                                                                        ุ
                                                                                           ั
                                                               ู้
                                                                      ้
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36