Page 32 - รายงานการสร้างนวัตกรรม นายวิทยา อำพล
P. 32

26





                               ี่
                                                                                                 ั
                                                                                 ี
                                                                                                         ู
                                     ี่
                                              ี่
                       ศตวรรษท 21 ทตองเป็นผทมีความ รอบรู้มากขึ้น มีความเป็นมืออาชพ ความสามารถศกยภาพสง
                                      ้
                                             ู้
                                                                                ้
                             ี่
                                                              ้
                           ู้
                                                                              ี่
                         ็
                       เปนผทมีนวัตกรรมการสอนเพื่อให้ นักเรียนไดผลการเรียนรู้ตามทตองการ และเตรียมความพร้อม
                       ให้แก่ นักเรียนในการเข้าสู่โลกของการ ทำงานในศตวรรษท 21 ซึ่งในการพัฒนาครู ครูจะเป็นผู้เรียนท ี่
                                                                       ี่
                                                           ่
                                                                                     ่
                       ตองเรียนรู้และพัฒนา ตนเอง ไดรับการสงเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างตอเนื่อง ทสามารถทำได ้
                        ้
                                                                                             ี่
                                                   ้
                       หลากหลายรูปแบบเชน การประชมสัมมนา การอบรมเชงปฏิบัตการ การวางแผนการทำงานร่วมกัน
                                         ่
                                                                            ิ
                                                                      ิ
                                                   ุ
                        ่
                                   ั
                                      ั้
                                                                        ี่
                                                                                       ่
                                         ุ่
                       สงเสริมให้ครูจดตงกลมเพื่อเข้ารับการอบรม หรือแลกเปลยนเรียนรู้อย่างตอเนื่อง โดยบริหารทำ
                       หน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้ครูในกรณีที่มีปัญหาทางวิชาการหรือบริหารจัดการ และควรจัดให้ มีการประชม
                                                                                                        ุ
                       เพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน ตามแนวทางการพัฒนาครูทควรมีการสนับสนุนและสงเสริมให้ครูพัฒนา
                                                                   ี่
                                                                                         ่
                       สมรรถนะตามมาตรฐานทกำหนด ซึ่งมีแนวทางในการพัฒนาทหลากหลายซึ่งการพัฒนาอันเกิดจาก
                                            ี่
                                                                           ี่
                       ความต้องการและความจำเป็นในการพัฒนาตนเองของครูเอง ทำให้ครูได้สบเสาะคนหาความรู้ และมี
                                                                                           ้
                                                                                    ื
                                                                                                        ้
                       สวนร่วมในกระบวนการพัฒนาโดยตรง การพัฒนาจากการสงเกตและการประเมิน จะทำให้ครูไดรู้
                                                                          ั
                        ่
                                                 ิ
                                                                                        ้
                       ข้อดหรือข้อดอยในการปฏิบัตงาน ทำให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาอย่างตองเนื่อง รวมถึงการ
                          ี
                                  ้
                       ฝกอบรม ทเป็นการถ่ายทอดความรู้จากการกระบวนการ แลวนำองคความรู้ทไดนำสห้องเรียนเพื่อ
                                                                                              ู่
                                                                                          ้
                                                                                        ี่
                                                                          ้
                                ี่
                        ึ
                                                                                 ์
                                                          ี่
                                                                                                    ิ
                                                            ้
                                                                                            ้
                                           ั
                       พัฒนานักเรียนเป็นลำดบถัดไป โดยผลทไดจากการพัฒนาครูจากการอบรมจะตองมีการตดตาม
                                            ั
                                                              ั้
                       สังเกต เพื่อประเมินผลหลงการนำไปใช้จริงในชนเรียน โดยการสะทอนความคดและอภิปรายร่วมกัน
                                                                                       ิ
                                                                               ้
                                                                                    ้
                                                                    ่
                                   ้
                       เพื่อนำผลทไดมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการตอไปประยูร บุญใช (2547: 64-67); Ubben
                                 ี่
                                                                                               ิ
                                                                                     ั
                                                        ึ
                       (2001); สำนักงานเลขาธิการสภาการศกษา (2551ก: 128-131); ฉลาด จนทรสมบัต (2550: 67);
                       สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (2561 :ออนไลน์)
                                     ผลการศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปได ้
                                                                                           ่
                       ว่า การกำหนดองค์ประกอบของรูปแบบ ขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์ ปัจจัยหรือตัวแปรตาง ๆ ที่กำลัง
                       ศึกษา ซึ่งจะออกแบบตามแนวคิด ทฤษฎีงานวิจัย และหลักการพื้นฐานในการกำหนดรูปแบบนั้น ๆ
                       เป็นหลักการวิจัย ครั้งนี้ผู้วิจัยได้สังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบ ประกอบด้วย 1) แนวคิด 2)
                       หลักการ 3)วัตถุประสงค์ 4) ปัจจัยนำเข้า 5) กระบวนการพัฒนา 6) การวัดและประเมินผล และ
                       7) ปัจจัยสนับสนุน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาครูที่ต้องเป็นผู้ที่มีความ รอบรู้มากขึ้น มีความเป็นมืออาชีพ
                       ความสามารถศักยภาพสูง เป็นผู้ที่มีนวัตกรรมการสอนเพื่อให้ นักเรียนได้ผลการเรียนรู้ตามที่ต้องการ
                       และเตรียมความพร้อมให้แก่ นักเรียนในการเข้าสู่โลกของการ ทำงานในศตวรรษที่ 21
                                                   ั
                                 2. แนวคิดทักษะการจดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของคร  ู
                                   ทักษะการจัดการเรียนรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 เป็นความชำนาญในการปฏิบัติงาน
                                                      ี่
                       ด้าน การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ทผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
                       มากกว่าการเป็นผู้รับความเพียงฝ่ายเดียวเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
                       ผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน และได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไปปฏิบัติเป็น
                                                                                             ี่
                       กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ทเน้น
                       กระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา องค์ประกอบการพัฒนาครู มี 4 ด้าน ได้แก่
                                                                                                       ี่
                                                                 ู้
                                         ้
                                   2.1 ดานการวางแผนจัดการเรยนร เป็นการเตรียมการจดการเรียนรู้ในรายวิชาทครู
                                                                                   ั
                                                              ี
                                                                                                 ู้
                                        ่
                                    ั้
                       รับผดชอบ เริ่มตงแตความสามารถในการกำหนดวัตถุประสงค วิเคราะห์ความพร้อมของผเรียน การ
                                                                          ์
                          ิ
                                             ี่
                                                   ิ
                       กำหนดเนื้อหาในรายวิชาทครูรับผดชอบ กำหนดรูปแบบวิธีการ และเทคนิคการจดการเรียนรู้ การ
                                                                                           ั
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37