Page 11 - นวัตกรรม ดร.นันทนา ลีลาชัย
P. 11
5
8.2.5 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล
่
แนวความคิดคณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห บทร้องเล่น
ุ
ของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด คานิยม
่
ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและ
ภูมิใจในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสบทอดมาจนถึงปัจจบัน
ุ
ื
8.3 รูปแบบการเรียนการสอน (Instructional Models) รูปแบบการเรียนการสอนเป็นโครงสร้าง
ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการสอน ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา
กระบวนการเรียนรู้และการประเมินผล โดยผ่านขั้นตอนการสร้างอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับทฤษฎีเพื่อให้
ี
นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่กำหนด (Joyce and Weil,2009: 13-14 ; ทศนา แขมมณ, 2548:
ิ
222-224)
8.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ คือ วิธีการเรียนผ่านระบบจัดการเรียนรู้โดยอาศัย
เทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่าน Application การประชุมออนไลน์ Google Meet สามารถเปิดเป็น
้
ลักษณะของวีดีโอคอลใชสื่อสารกันได้ ซึ่งครูสามารถแชร์หน้าจอเพื่อการอธิบายให้ความรู้กับนักเรียนได้
ส่วนนักเรียนก็สามารถนำเสนอผลงานให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นด้วย
8.5. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย
8.5.1 ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism Theory)
ทฤษฎีนี้อธิบายว่าเมื่อบุคคลแต่ละคนได้รับประสบการณ์ จะสร้างกฎเกณฑ์และรูปแบบของ
การคิดและเขาใจที่สอดคล้องรับกันได้กับประสบการณ์ของตนเอง การเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการของ
้
การปรับรูปแบบโครงสร้างความรู้ความคิดให้เข้ากับประสบการณ์ใหม่ในแต่ละบุคคล (Wilson.1996 : 18-20 ;
Cobb.1994 : 7-10 ; Driver and Bell.1981 : 5-7 ; รุจิราพร รามศิริ. 2557 : 13) แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎี
สร้างความรู้ที่ใช้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านและเขียน มีดงนี้ 1) การ
ั
เรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในนักเรียน นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยลงมือปฏิบัติจริง
ิ
ั
โดยอาศัยกระบวนการกำกับตนเอง เพื่อหาแนวทางลดความขดแย้งทางความคดของตนเอง 2) การเรียนรู้
ขึ้นอยู่กับการที่นักเรียนใช้กระบวนการทางปัญญาในการจัดกระทำกับขอมูล โดยใชข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับ
้
้
ข้อมูลหรือความรู้ ประสบการณ์เดิมมาเป็นเกณฑ์ช่วยการตัดสินใจ ความรู้และความเชื่อในแต่ละบุคคลจะ
แตกต่างกัน และมีผลโดยตรงต่อการสร้างความรู้ใหม่ 3) การเรียนรู้ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ
ซึ่งมีความสำคัญต่อการสร้างความรู้
8.5.2 แนวคิดการถ่ายโยงการเรียบรู้ (Transfer of learning) การถ่ายโยงการเรียนรู้
(Thorndike, 1913) เป็นแนวคิดที่อธิบายถึงการเรียนรู้ในสถานการณ์หนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการเรียบรู้ในช่วงเวลา
่
ถัดมา และตัวผู้เรียนจะมีความสามารถในการนำประสบการณ์ที่ผานมาแล้วมาช่วยแก้ปัญหาในสถานการณ ์
ใหม่ที่คลายยคลึงกันได้ (Ellit and others. 2000) โดยทผู้เรียนจะได้รับการฝึกหัด ฝึกฝน ที่เกี่ยวกับความรู้
้
ี่
ี่
หรือกลวิธีต่างๆอย่างเชี่ยวชาญ เพื่อให้สามารถนำสิ่งที่ได้เรียนนั้น มาประยุกต์ใช้หรือเรียบรู้สิ่งใหม่ทแตกต่างไป
จากเดิม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้รายงานได้นำการถ่ายโยงการเรียนรู้เชิงบวก (positive transfer) เป็น
การใช้ประสบการณจากการเรียนรู้ในครั้งก่อนที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ในครั้งใหม่ อันจะช่วยให้การรับรู้ในสิ่ง
์
์
ั
ใหม่ รวดเร็ว และชดเจนยิ่งขึ้น เพราะผู้เรียนใช้ประสบการณจากการเรียนรู้ในครั้งก่อนมาเป็นพื้นฐานสำคัญใน
ั
การเรียนรู้ครั้งใหม่ที่กำลังเกิดขึ้น โดยการเรียนการสอนจะกำหนดให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติงานที่มีลกษณะของ
การเรียนรู้ในครั้งก่อนที่ผู้เรียน ได้เรียนรู้จากงานเขียนต้นแบบ จากนั้นผู้เรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากงานเขียน
ต้นแบบนั้นมาสร้างสรรค์เป็นผลงานของตนเองในครั้งใหม่