Page 13 - นวัตกรรม ดร.นันทนา ลีลาชัย
P. 13

7


                             6) พิจารณาความน่าเชื่อถือของสาร การพิจารณาความน่าเชื่อถือของเนื้อหาสาระที่อ่าน ใน
                                                        ู้
               เบื้องตันอาจพิจารณาได้จากความน่าเชื่อถือของผส่งสารว่ามีความรู้ความชำนาญในเรื่องดังกล่าวหรือไม่ ใน
                                                                ี่
                                                                                                ้
               ส่วนเนื้อหาสาระอาจพิจารณาความน่าเชื่อถือไต้จากข้อมูลทใช้อ้างอิงเชิงอรรถ บรรณานุกรม เป็นตน
                             7) วิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอ การพิจารณากลวิธีการนำเสนอของผู้ส่งสารนับว่ามี
               ความสำคัญต่อการอ่านเพื่อสังเคราะห์ความรู้ เพราะกลวิธีการนำเสนอที่ดีย่อมช่วยให้การรับสารนั้น
                                                   ่
               มีประสิทธิภาพม มากขึ้น ทำให้สารมีความตำสนใจ ผู้รับสารที่ดจึงต้องวิเคราะห์ด้วยว่ากลวิธีการนำเสนอนั้นเ
                                                                   ี
                                                        ื
               มาะสมกับเนื้อเรื่องหรือไม่ และผู้ส่งสารสามารถเลอกใช้กลวิธีการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด
                             8) วิเคราะห์การใช้ภาษา ผู้รับสารควรพิจารณาถึงการใช้ภาษา สังเกดความกลมกลืน
               ระหว่างภาษกับเนื้อเรื่อง และการใช้โวหารภาพพจน์ว่ามีความสอดคล้องประสานกับเนื้อเรื่องมากเพียงใด
               พิจารณาความถูกต้องตามหลักภาษา รวมทั้งการพิจารณาว่าใช้ภาษาเหมาะสมกับบริบทและสถานการณ  ์

               หรือไม่ อย่างไร
                                                  ี
                           8.6.2 การเขียนบันเทิงคด เป็นเรื่องแต่งจากจินตนาการหรืออาจมีเค้าโครงจากความจริงนำมา
               ผสมผสานกับจินตนาการ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน สนุกสนาน เพลิดเพลน ผู้เขียน
                                                                                                ิ
               จะผูกเป็นเรื่องราว มีตัวละคร ฉาก และเหตุการณต่างๆ  สื่อความชัดเจนอาจแฝงความรู้ ส่งเสริมสตปัญญา
                                                        ์
                                                                                                 ิ
               และคุณค่าทางจริยธรรมไว้ด้วย ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญของการเขียนบันเทิงคดี  ดังนี้
                               1) โครงเรื่อง คือ การลำดับเหตุการณ์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้าว่าจะเขียนเรื่องให้ดำเนินไปอย่างไร
                               2) ตัวละคร คือ บุคคลที่ผู้เขียนสมมติขึ้นเพื่อให้กระทำพฤติกรรมตามเหตุการณ์ในท้องเรื่อง

               ตัวละครอาจเป็นคน สัตว์ ต้นไม้ วัตถุ เป็นต้น ในเรื่องสั้นตัวละครมีจำนวนน้อย อาจมีเพียง 1 หรือ 2 ตัวก็ได้
               แต่ในนวนิยายตัวละคร จะมีหลายตัว ตัวละครมี 2 ประเภท มีตัวละครเอก ตัวละครรอง
                                                                                   ี่
                               3)  แนวคิด หรือแก่นของเรื่อง คือ ทรรศนะหรือแนวคิดสำคัญทผู้เขียนต้องการนำเสนอ
               เป็นความหมายรวมของเรื่องทั้งเรื่อง ดังนั้นเก่นเรื่องจึงเป็นตัวควบคุมองค์ประกอบทุกๆ ส่วน ไม่ว่าจะเป็นโครง
                                          ั
                                                                      ี่
               เรื่อง ตัวละคร ผู้เล่าเรื่อง ความขดแย้งของเรื่อง เหตุการณ์ สถานท ตลอดจนลีลาการเขียน เพื่อให้บรรล ุ
               จุดประสงค์หลักที่ผู้เขียนต้องการ แนวคิดที่กล่าวถึงนี้เป็นความคิดที่เป็นรากฐาน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเชื่อ
               ของผู้เขียนเกี่ยวกับความจริงที่เป็นอยู่
                               4) ฉาก คือ เวลาและสถานที่ของเหตุการณที่เกิดขึ้นในเรื่อง ซึ่งรวมทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆ
                                                                  ์
               ที่เกี่ยวข้อง โดยภาพรวมแล้วฉากจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
                                                                                  ่
                               5) กลวิธี ในการเขียนเรื่องสั้นหรือนวนิยาย ผู้เขียนอาจเป็นผู้เลาเรื่องนั้นเองหรือกำหนดให้
                                         ู้
               ตัวละครในเรื่องเป็นผู้เล่า และผเขียนหรือตัวละครที่เล่าเรื่องนั้นมีฐานะอะไรในเรื่อง
                               6) ภาษา ผู้เขียนแตละคนมีกลวิธีการใช้ภาษาอันเป็นลักษณะเฉพาะตัว ผู้เขียนสามารถ
                                               ่
               เลือกใชถ้อยคำที่สื่อความหมายได้ดี ซึ่งทำให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตามและมองเห็น
                      ้

               9. การออกแบบนวัตกรรม
                       รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ร่วมกับแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้

               เพื่อสงเสริมทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ใชกิจกรรม “การสร้างชุมชน
                    ่
                                                                                  ้
               แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) มาดำเนินการดังนี้
                         ขั้นที่ 1 ค้นหาปัญหาของผู้เรียน
                           1.1 การวิเคราะห์ผลทดสอบการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประจำปี

               การศึกษา 2564
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18