Page 14 - นวัตกรรม ดร.นันทนา ลีลาชัย
P. 14
8
1.2 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หามาตรฐานและตัวชี้วัดท ี่
จะต้องพัฒนา
ุ
1.3 วิเคราะห์ปัญหา สาเหตของปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้น ของมาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ต้อง
ปรับปรุงเร่งด่วน
ขั้นที่ 2 คิดหาสาเหตุและหาแนวทางแก้ไข สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ สะท้อนถึง
มาตรฐานการเรียนร ู้
2.1 สรุปผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามระดับพฤติกรรมการเรียนรู้
2.2 สรุปผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อ
การสอน วิธีการวัดผลและประเมินผล
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการหรือนวัตกรรมที่นำไปแก้ปัญหา
3.1 สร้างนวัตกรรม/ออกแบบวิธีการสอน
3.2 ตั้งวัตถุประสงค์หลักของการแก้ปัญหา
ี่
3.3 เรียงลำดับขั้นตอนวิธีสอนหรือขั้นตอนในการดำเนินการแก้ปัญหาโดยใช้แนวทางทเลือก
ขั้นที่ 4 สร้างนวัตกรรม ที่ใช้ในการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย ประกอบด้วย
1) รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ร่วมกับแนวคิดการถ่ายโยง
ี่
การเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท 6 2) แผนการจัดการ
เรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน
ได้ดำเนินการสร้างดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research: R1) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analysis: A)
1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ผู้วิจัยศึกษาในสาระที่ 1 การอ่าน และสารท 2 การเขียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ี่
แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. สังเคราะห์แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการ
สอนออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ร่วมกับแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้
ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผวิจัยได้ศึกษาแนวคิด หลักการของการสร้างรูปแบบการเรียน
ู้
การสอน รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ แนวคิด หลักการของทฤษฎีการสร้างความรู้ แนวคดการถ่ายโยง
ิ
ี
ความรู้ แนวทางการสอนอ่านสังเคราะห์ความรู้ แนวทางการสอนเขียนบันเทิงคด โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) และนำเสนอในรูปแบบพรรณนาความ
3. การศึกษาความต้องการในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย จากการสอบถาม
ู้
ครูผสอนรายวิชาภาษาไทย โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” จำนวน 3 คน นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยุติธรรมวิทยา” จำนวน 5 คน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มา
วิเคราะห์และสรุปสภาพปัญหา และความต้องการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์