Page 15 - นวัตกรรม ดร.นันทนา ลีลาชัย
P. 15
9
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development : D1) เป็นการออกแบบและพัฒนา (Design and
Development: D&D) การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน
ู้
1. สร้างรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างความรร่วมกับแนวคิดการ
ถ่ายโยงการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยนำ
ู้
ข้อมูลที่เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในขั้นตอนที่ 1 มาใช้ในการสังเคราะห์ร่างรูปแบบการเรียนการสอน
ออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ร่วมกับแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้
ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ู้
2. สร้างแผนการจัดการเรียนร ประกอบด้วยเนื้อหาแต่ละแผนประกอบด้วย สาระและ
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กระบวนการเรียนรู้ สื่อการเรียนการ
ั
สอน การวัดและประเมินผล ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา สื่อการสอนประกอบแผนการจดการเรียนรู้
ี
ใบความรู้ ใบงาน แบบประเมินผลงานการอ่าน การเขียนบันเทิงคด มีขั้นตอนการสร้างดังนี้
ขั้นที่ 1 ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการสร้างความรู้ แนวคิดการถ่ายโยงความรู้
แนวทางการสอนอ่านสังเคราะห์ความรู้ แนวทางการสอนเขียนบันเทิงคดี
ขั้นที่ 2 ศึกษาหลักสตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน
ู
สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์เนื้อหา ตัวชี้วัด เพื่อเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ ที่ได้ศึกษานำมาสังเคราะห์ เพื่อกำหนดองคประกอบ
์
และสร้างกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 4 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3 แผน ที่มีขั้นตอนการสอน 6 ขั้นตอน ดังนี้
ชั่วโมงที่ 1-2
ู้
ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์ในการเรียนร (Experience) ครูเปิดห้องเรียนผ่านสื่อ
เครือข่ายสังคมออนไลน์ Google meet เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ออนไลน์ ให้นักเรียน
ทยอยเข้าชั้นเรียน เป็นกิจกรรมเตรียมความพร้อมในการอ่านและการเขียนเพื่อการสื่อสาร ครูเสนอสิ่งเร้า คลป
ิ
เรื่องสั้น และรวมพลังคำถามสำคัญ สร้างแรงบันดาลใจ ให้แนวทางการอ่านสังเคราะห์ความรู้ แนวทางการ
เขียนบันเทิงคด ี
ขั้นที่ 2 การเชื่อมโยงสู่ความคิด (Transfer & Think) นักเรียนแสวงหาความรู้
ิ
จากการอ่านงานเขียนบันเทิงคดีต้นฉบับแล้วนำมาวิเคราะห์องค์ประกอบของงานเขียน ได้แก่ แนวคด ตัวละคร
ฉาก โครงเรื่อง ปมปัญหา แล้วนำมาเขียนแผนภาพโครงเรื่อง มายกร่างข้อเขียน จัดทำแผนภาพโครงเรื่องใหม่
โดยใช้แนวคิดเดิม แต่เปลี่ยนตัวละคร ฉาก โครงเรื่อง เขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง เรียบเรียงเป็นงานเขียน
บันเทิงคดีเรื่องใหม่ ที่มีเค้าโครงเดิม
ชั่วโมงที่ 3-4
ขั้นที่ 3 การสื่อสารและการสะท้อนคิด (Communication) ครูเปิดห้องเรียนผ่านสื่อ
เครือข่ายสังคมออนไลน์ Google meet เพื่อให้นักเรียนได้นำแผนภาพโครงเรื่อง ร่างงานเขียน มาแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ สื่อสารและสะท้อนคดกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน
ิ
ั
่
ขั้นที่ 4 การสร้างนวตกรรมใหม (Innovation) ให้นักเรียนนำข้อมูลจากการสะท้อน
์
คิดมาปฏิบัติการเขียนบันเทิงคดฉบับสมบูรณ
ี