Page 12 - นวัตกรรม ดร.นันทนา ลีลาชัย
P. 12

6


                         8.6 ทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย หมายถึง ความรู้ความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย ใน
                                                                         ี่
               ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท 6 เป็นทักษะการอ่านเพื่อสังเคราะห์
                                                                                            ิ
               ความรู้ คือ ความสามารถของนักเรียนในการรวบรวมสารจากการอ่านมาเรียบเรียงเป็นความคดและเกิดความ
               เข้าใจเรื่องราวที่อ่านตรงกับที่ผู้เขียนต้องการสื่อ แล้วสามารถนำความรู้ ความคิด หรือสาระจากเรื่องราวที่อ่าน
                                   ้
                                                                                       ี่
               ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได และทักษะการเขียนบันเทิงคดี คือ ความสามารถของนักเรียนทเขียนเรียบเรียง
               เรื่องราว ความรู้ ประสบการณ์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นของตนให้อยู่ในรูปแบบลายลักษณ์อักษร เพื่อถ่ายทอด
               และนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ สู่ผู้อ่านได
                                               ้
                                                           ู้
                           8.6.1 การอ่านเพื่อสังเคราะห์ความร เป็นกระบวนการทำความเข้าใจสาร ความหมายท ี่
               ผู้เขียนต้องการสื่อ โดยที่ผู้อ่านจะต้องใชความรู้ ความคิด และจินตนาการของตนเอง ทั้งนี้ผู้อ่านต้องเลือก
                                                ้
                                                                                        ้
               ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับประเด็นที่ต้องการสังเคราะห์ เพราะบางครั้งไม่อาจนำข้อมูลไปใช้ไดทั้งหมดเนื่องจาก
               ข้อมูลอาจมีเป็นจำนวนมากและมีหลายลักษณะ การอ่านเพื่อสังเคราะห์ความรู้จึงควรใช้แนวทางในการอ่าน
               ดังนี้
                             1)  พิจารณาแหล่งข้อมูล ในปัจจุบันการศึกษาหาความรู้ข้อมูลตางๆ ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ใน
                                                                                   ่
               ตำราเรียนหรือจากห้องสมุดเท่านั้น เพราะโลกในยุดไร้พรมแดนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ปรากฏในสื่อต่างๆ เช่น

                                                                                               ู้
               โทรทัศน์ วิทยุ.วารสาร นิดยูสาร หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ส่วนเป็นประโยชน์ต่อผที่ต้องการ
               ศึกษาค้นคว้า ซึ่งในการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดๆ ควรรู้วิธีในการค้นหาข้อมูล เช่น หากนักเรียนต้องค้นหาความรู้
               เกี่ยวกับเรื่อง "การปลูกผักปลอดสารพิษ"แต่เดิมนักเรียนอาจค้นคว้าจากหนังสือที่อยู่ในห้องสมุดหรือ

               สารานุกรมที่เกี่ยวข้อง แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ ช่วยให้นักเรียนสามารถค้นหาความรู้ใด้สะดวกมากขึ้น
                                                                                                ุ
               เช่น การสืบค้นหนังสือหรือบทความออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการค้นหาความรู้ในปัจจบันจึงมี
               หลายช่องทางสิ่งสำคัญทควรคำนึงถึงมากที่สุด คือ คุณภาพของข้อมูล ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือและความ
                                    ี่
                             2) จับใจความสำคัญของเรื่อง การรับสารเพื่อหาความรู้หรือสังเคราะห์ความรู้จาก
               แหล่งค้นคว้าต่างๆ จำเป็นต้องจับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่านให้ได้ก่อน เพื่อที่จะได้รับรู้สาระสำคัญของเรื่อง

               ในการอ่านจับใจความสำคัญผู้อ่านอาจทำได้โดยพิจารณาจาก ชื่อเรื่อง ชื่อบท ชื่อตอน ชื่อหัวข้อต่างๆ ข้อความ
                                               ่
               ที่พิมพ์ตัวหนาและการจับใจความในแตละย่อหน้า เพื่อให้ทราบถึงประเด็นสำคัญทั้งประเด็นหลักและประเด็น
               รองที่ปรากฏในเนื้อหา

                             3) พิจารณารายละเอียดที่อาจเป็นประโยชน์ นอกเหนือจากการพิจารณาใจความสำคัญของ
                                                                                       ี่
                                                              ิ
                                                                                ี
               เรื่องแล้ว ในบางครั้งรายละเอียดบางส่วน เช่น ข้อมูลสถิต ตัวเลข ตัวอย่าง กรณศึกษาทปรากฏในเนื้อหาอาจ
                         ี่
               เป็นข้อมูลทสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได  ้
                                              ็
                                                                        ุ
                             4) วิเคราะห์ข้อเทจจริง ข้อเท็จจริง คือข้อมูล เหตการณ์หรือเรื่องราวที่สามารถ
                                                                         ิ
               พิสูจน์และระบุได้อย่างชัดเจนว่าเป็นเรื่องจริงหรือเท็จ โดยไม่มีทัศนคตส่วนบุดคลเข้ามาเกี่ยวข้อง
               ทันสมัยของข้อมูล ผู้รับสารที่ดีจะต้องรู้จักสังเกต พิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องของข้อเท็จจริงที่ปรากฎ
                                                 ิ
               เพราะหากหลงเชื่อข้อมูลที่นำเสนอโดยบดเบือนข้อเท็จจริงก็อาจก่อใหเกิดความเสียหายได้ในภายหลัง
                                                                        ้
                             5) วิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เขียน  ข้อคดเห็น คือข้อมูลทเกิดจากความรู้สึกนึกคิดและ
                                                                                ี่
                                                                  ิ
               ทัศนคติของบุคคล ซึ่งอาจแตกต่างกันออกไป การพิจารณาข้อคิดเห็นที่ปรากฏในสารจะช่วยทำให้ผอ่านมีโลก
                                                                                                ู้
                                                                                         ิ
               ทัศน์และมุมมองต่อสิ่งต่างๆ กว้างขวางมากขึ้น ทำให้เกิดแง่มุมที่หลากหลายนับเป็นการเปดโลกทศน์ให้แก่
                                                                                               ั
               ตนเองพัฒนาศักยภาพในการคิด
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17